วันอังคารที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2554

วิชาการจัดระบบเครื่อข่ายและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์

DHCP (Dynamic Host Configuration Protocol)
    คือ โปรโตคอลที่ใช้ในการกำหนด IP Address อัตโนมัติแก่เครื่องลูกข่ายบนระบบ ที่ติดตั้ง TCP/IP สำหรับ DHCP server มีหน้าที่แจก IP ในเครือข่ายไม่ให้ซ้ำ เป็นการลดความซ้ำซ้อน เมื่อเครื่องลูกเริ่ม boot ก็จะขอ IP address, Subnet mark, หมายเลข DNS และ Default gateway
    ขั้นตอนการเชื่อมต่อของเครื่องลูกกับ DHCP server
    1. เครื่องลูกค้นหาเครื่อง DHCP server ในเครือข่าย โดยส่ง DHCP discover เพื่อร้องขอ IP address
    2. DHCP server จะค้นหา IP ที่ว่างอยู่ในฐานข้อมูล แล้วส่ง DHCP offer กลังไปให้เครื่องลูก
    3. เมื่อเครื่องลูกได้รับ IP ก็จะส่งสัญญาณตอบกลับ DHCP Request ให้เครื่องแม่ทราบ
    4. DHCP server ส่งสัญญาณ DHCP Ack กลับไปให้เครื่องลูก เพื่อแจ้งว่าเริ่มใช้งานได้

วันอังคารที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2554

วิชาการจัดระบบเครื่อข่ายและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์

1.จงยกตัวอย่างอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ในการเชื่อมต่อเครือข่าย
บริดจ์ (Bridge)

     บริดจ์มีลักษณะคล้ายเครื่องขยายสัญญาณ บริดจ์จะทำงานอยู่ในชั้น Data Link บริดจ์ทำงานคล้ายเครื่องตรวจตำแหน่งของข้อมูล โดยบริดจ์จะรับข้อมูล จากต้นทางและส่งให้กับปลายทาง โดยที่บริดจ์จะไม่มีการแก้ไขหรือเปลี่ยนแปลงใดๆแก่ข้อมูล บริดจ์ทำให้การเชื่อมต่อระหว่างเครือข่ายมีประสิทธิภาพลดการชนกัน ของข้อมูลลง บริดจ์จึงเป็นสะพานสำหรับข้อมูลสองเครือข่าย



2.การเปรียบเทียบการทำงานของเกตเวย์และสวิตซ์
เกตเวย์  ช่วยเหลือคอมพิวเตอร์ 2 เครื่องหรือมากกว่าที่อยู่ในต่างเครือข่ายกันซึ่งอาจจะมีลักษณะของเครือข่าย ที่เหมือนกันหรือแตกต่างกัน ให้สามารถติดต่อสื่อสารข้อมูลกันได้
สวิตซ์ (switch)เลือกส่งข้อมูลออกไปยังเฉพาะพอร์ตที่ใช้ติดต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์ปลายทาง ไม่เกิดการชนกันของข้อมูล ที่ไม่มีการ Share bandwidth ระหว่างกัน   มีความปลอดภัยจากการดักจับข้อมูล

3.โทโพโลยีมีกี่ประเภท  อะไรบ้าง จงอธิบายว่าแต่ละประเภทเหมาะกับการใช้งานแบบใด
โทโพโลยี(Topology )มี 3 ประเภท ดังนี้
บัส (Bus Topology)
      ลักษณะการทำงานของเครือข่าย โทโปโลยีแบบบัส คืออุปกรณ์ทุกชิ้นหรือโหนดทุกโหนด ในเครือข่ายจะต้องเชื่อมโยงเข้ากับสายสื่อสารหลักที่เรียกว่า"บัส" (BUS) เมื่อโหนดหนึ่งต้องการจะส่งข้อมูลไปให้ยังอีกโหนด หนึ่งภายในเครือข่าย จะต้องตรวจสอบให้แน่ใจก่อนว่าบัสว่างหรือไม่ ถ้าหากไม่ว่างก็ไม่สามารถจะส่งข้อมูลออกไปได้ ทั้งนี้เพราะสายสื่อสารหลักมีเพียงสายเดียว ในกรณีที่มีข้อมูลวิ่งมาในบัส ข้อมูลนี้จะวิ่งผ่านโหนดต่างๆ ไปเรื่อยๆ ในขณะที่แต่ละโหนดจะคอยตรวจสอบข้อมูลที่ผ่านมาว่าเป็นของตนเองหรือไม่ หากไม่ใช่ ก็จะปล่อยให้ข้อมูลวิ่งผ่านไป แต่หากเลขที่อยู่ปลายทาง ซึ่งกำกับมากับข้อมูลตรงกับเลขที่อยู่ของของตน โหนดนั้นก็จะรับข้อมูลเข้าไป
      -เหมาะกับการรับส่งข้อมูลแบบไม่ต่อเนื่องและข้อมูลมีจำนวนไม่มากนัก

โทโปโลยีแบบวงแหวน (Ring Topology)
      เป็นการเชื่อมต่ออุปกรณ์ต่างๆ เข้ากันเป็นวงกลม ข้อมูลข่าวสารจะถูกส่งจากโหนดหนึ่งไปยังอีกโหนดหนึ่ง วนอยู่ในเครือข่ายไปใน ทิศทางเดียวเหมือนวงแหวน (ในระบบเครือข่ายรูปวงแหวนบางระบบสามารถส่งข้อมูลได้สองทิศทาง) ในแต่ละโหนดหรือสถานี จะมีรีพีตเตอร์ประจำโหนด 1 ตัว ซึ่งจะทำหน้าที่เพิ่มเติมข่าวสารที่จำเป็นต่อการ สื่อสาร ในส่วนหัวของแพ็กเกจข้อมูล สำหรับการส่งข้อมูลออกจากโหนด และมีหน้าที่รับแพ็กเกจข้อมูลที่ไหลผ่านมาจากสายสื่อสาร เพื่อตรวจสอบว่าเป็นข้อมูลที่ส่งมาให้โหนดตนหรือไม่ ถ้าใช่ก็จะคัดลอกข้อมูลทั้งหมดนั้นส่งต่อไปให้กับโหนดของตน แต่ถ้าไม่ใช่ก็จะปล่อยข้อมูลนั้นไปยังรีพีตเตอร์ของโหนดถัดไป
Ring Topology
-เหมาะกับงานที่มีการรับส่งข้อมูลมาก ๆ และ
ต่อเนื่องตลอดเวลา

โทโปโลยีรูปดาว (Star Topology)
      เป็นการเชื่อมโยงการติดต่อสื่อสารที่มีลักษณะคล้ายรูปดาว หลายแฉก โดยมีสถานีกลาง หรือฮับ เป็นจุดผ่านการติดต่อกันระหว่างทุกโหนดในเครือข่าย สถานีกลางจึงมีหน้าที่เป็นศูนย์ควบคุมเส้นทางการสื่อสาร ทั้งหมด นอกจากนี้สถานีกลางยังทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางคอยจัดส่งข้อมูลให้กับโหนดปลายทางอีกด้วย การสื่อสารภายใน เครือข่ายแบบดาว จะเป็นแบบ 2 ทิศทางโดยจะอนุญาตให้มีเพียงโหนดเดียวเท่านั้นที่สามารถส่งข้อมูลเข้าสู่เครือข่ายได้ จึงไม่มีโอกาสที่หลายๆ โหนดจะส่งข้อมูลเข้าสู่เครือข่ายในเวลาเดียวกัน เพื่อป้องกันการชนกันของสัญญาณข้อมูล เครือข่ายแบบดาว เป็นโทโปโลยีอีกแบบหนึ่งที่เป็นที่นิยมใช้กันในปัจจุบัน
Star Topology
-เหมาะกับการรับส่งข้อมูลแบบไม่ต่อเนื่อง
และข้อมูลมีจำนวนไม่มากนัก

4.รีพีตเตอร์หรือฮับทำงานอยู่บน layer ใดของOSI model
รีพีตเตอร์หรือฮับเป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ขยายสัญญาณที่ได้รับมาส่งต่อให้กับอุปกรณ์อื่น
ที่ต่อเข้ากับมัน จัดเป็นอุปกรณ์ที่มีการทำงานอยู่ใน  Layer ที่ 1 ของ OSI
Model

วันเสาร์ที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2554

วิชาฐานข้อมูลเบื้องต้น

1. Functional Dependency คืออะไร แบ่งเป็นกี่ประเภท
Functional Dependency สมารถแบ่งออกเป็น 4 ประเภท ดังนี้
1.      Functional Dependency ที่เกิดจากความสัมพันธ์ระหว่าง Determinant และ Dependency อย่างละ 1 คำ เช่น ความสัมพันธ์ระหว่างหมายเลขบัตรประชาชนและชื่อเจ้าของบัตร
2.      Functional Dependency ที่เกิดจากความสัมพันธ์ระหว่าง Determinant 1 ค่ากับ Dependency หลายค่า เช่น ความสัมพันธ์ระหว่างหมายเลขบัตรประชาชนและข้อมูลที่ปรากฏอยู่บนบัตรประชาชน
3.      Functional Dependency ที่มีความสัมพันธ์ 2 ทาง ซึ่งเป็น Functional Dependencyที่ทั้ง Determinant และ Dependency ต่างสามารถทำหน้าที่ของอีกฝ่ายหนึ่งได้ เช่น ความสัมพันธ์   ระหว่างชื่อผู้จัดการโครงการ (Attribute “MANAGER”)กับชื่อโครงการ(Attribute“PROJECT_NO”)ซึ่งถ้าทราบชื่อของโครงการจะสามารถทราบได้ถึงชื่อของโครงการที่ผู้จัดการนั้นเป็นเจ้าของได้ และเมื่อทราบชื่อโครงการก็จะสามารถทราบถึงชื่อของผู้จัดการโครงการนั้นเช่นเดียวกัน
4.      Functional Dependency ที่ต้องใช้ Determinant มากกว่า 1 ค่า เพื่ออ้างถึง Dependency เช่น ความสัมพันธ์ระหว่างจำนวนสินค้าที่ผลิตได้ของสินค้าแต่ละชนิดภายใต้สายการผลิตต่าง ๆ
2. จงอธิบายความหมายของ Repeating Group พร้อมยกตัวอย่าง
Repeating Group หมายถึง รีเลชั่น ของตารางเกิดมีกลุ่มข้อมูลซ้ำกันหรือกล่าวอีกนัยหนึ่งคือแต่ละช่องเซลของรีเลชั่นจะถูกจัดเก็บข้อมูลมากกว่า 1 ค่า ส่งผลให้รีเลชั่น นี้ มีโครงสร้างที่ไม่สอดคล้องตามคุณสมบัติของ 1NF
ยกตัวอย่างเช่น ตาราง Oder สังเกตว่าลูกค้า(Attribute“CUST_NO”) 1 คนสามารถมีรายการสั่งซื้อ (Attribute “ORDER_CONTENT”) ได้มากกว่า 1 รายการ ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่า (Attribute“CUST_NO”) นี้ มีความสัมพันธ์กับ(Attribute“ORDER_CONTENT”) ในแบบ Repeating Group ส่งผลให้รีเลชั่น นี้ มีโครงสร้างที่ไม่สอดคล้องตามคุณสมบัติของ 1NF
3. จงอธิบายความหมายของ Transitive Dependency พร้อมยกตัวอย่าง
Transitive Dependency หมายถึง รีเลชั่น ของตารางเกิดมี Attribute บางตัวที่ไม่ได้เป็นคีย์หลัก มีคุณสมบัติในการกำหนดค่าของอื่นที่ไม่ใช่คีย์หลักในตารางรีเลชั่นหรือกล่าวอีกนัยหนึ่งคือ มี 2 Attribute ที่ไม่ใช่คีย์หลัก ที่สามารถระบุค่าระหว่างกันได้
ยกตัวอย่างเช่น ในตาราง Oder สินค้าของลูกค้าจาก รีเลชั่น “Cust” มีค่าของ AttributeCITY” และ AttributeZONE_SALE” ปรากฏข้อมูลซ้ำกันเป็นคู่ ๆ หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งคือ ทั้ง 2 Attribute สมารถระบุค่าระหว่างกันได้ กล่าวคือ เมื่อระบุค่าให้กับ AttributeZONE_SALE” จะสามารถทราบถึงเมืองใน AttributeCITY” ได้ ดังนั้นจึงทำให้ รีเลชั่นนี้ขาดคุณสมบัติของ 3NF และยังก่อให้เกิดปัญหาความผิดพลาดทางด้าน Anomaly
4.จงตรวจสอบตารางต่อไปว่าอยู่ในรูปของ 1NF 2NF และ 3NF แล้วหรือยัง ถ้ายัง Normalization ให้อยู่ในรูปดังกล่าว
P_ID
P_Name
E_ID
E_ Name
Job_Calss
Chg_Hour
Hour
11
EAU  Web Site
103
สมชาย ไม้ดี
SA
500
23.8
101
แท่น งามยิ่ง
Database  Designer
450
19.4
105
ชาย ดีศรี
Database  Designer
450
35.7
106
แม็ก ยอดยิ่ง
Programmer
400
12.6
102
อมร ดีศรี
SA
500
23.8
22
BU Reglstration
114
สุรศักดิ์ ดีงาม
Application Designer
300
24.6
118
กมล ไม้งาม
General Support
200
45.3
104
นาย ยิ่งยอด
SA
500
32.4
106
แม็ก ยอดยิ่ง
Programmer
400
20
112
ธิดา ไม้งาม
Database  Designer
450
44.0
105
ชาย ดีศรี
Database  Designer
450
44.0



จากตารางจะสังเกตว่าไม่มีคุณสมบัติครบเป็น 1NF เพราะเป็นรีเลชั่นที่มีคีย์หลักของรีเลชั่น คือ มี (Attribute “P_ID”) เป็นคีย์หลัก แล้วแต่มีกลุ่มข้อมูลซ้ำซ้อน (Repeating Group) อยู่ในรีเลชั่นหรือในแต่ละช่องหรือเซล ของรีเลชั่นมีการเก็บข้อมูลหลายค่าคือ AttributeE_ID”นี้มีความสัมพันธ์กับ AttributeP_Name” ในแบบ Repeating Group ส่งผลให้ Relation นี้ มีโครงสร้างที่ไม่สอดคล้องตามคุณสมบัติของ 1NF ดังนั้นจึงต้องทำรายการ Normalization โดยการแปลงคุณสมบัติ Attribute ที่อยู่ในรูป Repeating Group ให้มีคุณสมบัติ  Atomicity พร้อมกับกำหนดให้ Attribute ดังกล่าวเป็น Relation Key ของ Relation ดังนั้นจึงถูกแปลงให้อยู่ในรูปดังนี้
รูปดังนี้
P_ID
P_Name
E_ID
E_ Name
Job_Calss
Chg_Hour
Hour
11
EAU  Web Site
103
สมชาย ไม้ดี
SA
500
23.8
11
EAU  Web Site
101
แท่น งามยิ่ง
Database  Designer
450
19.4
11
EAU  Web Site
105
ชาย ดีศรี
Database  Designer
450
35.7
11
EAU  Web Site
106
แม็ก ยอดยิ่ง
Programmer
400
12.6
11
EAU  Web Site
102
อมร ดีศรี
SA
500
23.8
22
BU Reglstration
114
สุรศักดิ์ ดีงาม
Application Designer
300
24.6
22
BU Reglstration
118
กมล ไม้งาม
General Support
200
45.
22
BU Reglstration
104
นาย ยิ่งยอด
SA
500
32.4
22
BU Reglstration
106
แม็ก ยอดยิ่ง
Programmer
400
20
22
BU Reglstration
112
ธิดา ไม้งาม
Database  Designer
450
44.0
22
BU Reglstration
105
ชาย ดีศรี
Database  Designer
450
44.0



- ไม่มีคุณสมบัติเป็นไปตาม 2NF เพราะจะเห็นได้ว่า Relation ของตาราง จะมี Attribute (E_ID ,P_ID) เป็น Attribute ที่ทำให้ข้อมูลในแต่ละ Tuple มีค่าไม่ซ้ำกัน ดังนั้น  Attribute ทั้ง 2 จึงทำหน้าที่เป็น Relation Key และพิจารณาค่าของ Attribute  E_ID”, E_ Name” ,Job_Calss”, Chg_Hour”, Hour ” จะสังเกตเห็นว่า Tuple ที่ประกอบขึ้นจาก Attribute เหล่านี้ จะมีข้อมูลซ้ำกันเป็นชุด ๆ และมีเพียง  Attribute  P_Name” เท่านั้นที่มีค่าแปรเปลี่ยนตามค่าของ Relation Key ดังนั้นจึงสามารถเขียนด้วย Functional Dependency เพิ่มเติมได้ดังนี้
- d1: E_ID, P_ID               P_Name
- d2: E_ID                E_ Name ,Job_Calss ,Chg_Hour, Hour
ใน d2 จะสังเกตเห็นว่า Attribute E_ Name” ,Job_Calss”, Chg_Hour”และ “ Hour ”, เป็น Nonprime Attribute ของ Relation ที่ไม่ได้ขึ้นอยู่กับเฉพาะ Relation Key แต่กลับขึ้นอยู่กับค่าของ Attribute E_ID” ด้วย แสดงว่า d2 นี้ไม่เป็นไปตามคุณสมบัติข้อ 2
ดังนั้น Relation นี้ จึงไม่มีคุณสมบัติเป็นไปตามคุณสมบัติของ 2NF จึงต้องแยก Relation นี้ ออกเป็น 2 Relation ตาม d1และ d2 ดังนี้
E P_Name
E_ID
P_ID
P_Name
103
11
EAU  Web Site
101
11
EAU  Web Site
105
11
EAU  Web Site
106
11
EAU  Web Site
102
11
EAU  Web Site
114
22
BU Reglstration
118
22
BU Reglstration
104
22
BU Reglstration
106
22
BU Reglstration
112
22
BU Reglstration
105
22
BU Reglstration




E
E_ID
E_ Name
Job_Calss
Chg_Hour
Hour
103
สมชาย ไม้ดี
SA
500
23.8
101
แท่น งามยิ่ง
Database  Designer
450
19.4
105
ชาย ดีศรี
Database  Designer
450
35.7
106
แม็ก ยอดยิ่ง
Programmer
400
12.6
102
อมร ดีศรี
SA
500
23.8
114
สุรศักดิ์ ดีงาม
Application Designer
300
24.6
118
กมล ไม้งาม
General Support
200
45.
104
นาย ยิ่งยอด
SA
500
32.4
106
แม็ก ยอดยิ่ง
Programmer
400
20
112
ธิดา ไม้งาม
Database  Designer
450
44.0
105
ชาย ดีศรี
Database  Designer
450
44.0



-  จาก Relation นี้ ถึงแม้จะมีโครงสร้างเป็นไปตามคุณสมบัติ 2NF แต่จะเห็นว่าค่าของ AttributeJob_Calss” ,Chg_Hour”และ “ Hour ” ยังปรากฏข้อมูลที่มีซ้ำกันอยู่เป็นคู่ ๆ หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งทั้ง 2 Attribute สามารถรับบุค่าระหว่างกันได้ ดังนั้น Relation นี้จึงขาดคุณสมบัติของ 3NF และยังก่อให้เกิดปัญหาความผิดพลาดทางด้าน Anomaly
จากปัญหา Anomaly ที่เกิดขึ้นจาก Transitive Dependency เหล่านี้จึงต้องทำการแยก Attribute ที่ทำให้เกิด Transitive Dependency ของ Relation นี้ ออกมาเป็น Relation ใหม่ ซึ่งจากตารางได้แก่ AttributeJob_Calss” ,Chg_Hour”และ “ Hour ” ดังนี้
E2
E_ID
E_ Name
Job_Calss
103
สมชาย ไม้ดี
SA
101
แท่น งามยิ่ง
Database  Designer
105
ชาย ดีศรี
Database  Designer
106
แม็ก ยอดยิ่ง
Programmer
102
อมร ดีศรี
SA
114
สุรศักดิ์ ดีงาม
Application Designer
118
กมล ไม้งาม
General Support
104
นาย ยิ่งยอด
SA
106
แม็ก ยอดยิ่ง
Programmer
112
ธิดา ไม้งาม
Database  Designer
105
ชาย ดีศรี
Database  Designer




Job Chg Hour
Job_Calss
Chg_Hour
Hour
SA
500
23.8
Database  Designer
450
19.4
Database  Designer
450
35.7
Programmer
400
12.6
SA
500
23.8
Application Designer
300
24.6
General Support
200
45.
SA
500
32.4
Programmer
400
20
Database  Designer
450
44.0
Database  Designer
450
44.0